วันพฤหัสบดีที่ 10 กันยายน 2563 เวลา 17.00 น. ณ ลานจอดรถเทศบาล ถนนสายบุรี อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา โดย ดร. อรรชกา สีบุญเรือง ประธานคณะกรรมการสำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ กล่าวต้อนรับ แขกผู้มีเกียรติ และกล่าวถึงวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งสำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์สงขลาสำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (องค์การมหาชน) หรือ สศส. หน่วยงานภายใต้การกำกับดูแลของสำนักนายกรัฐมนตรี ภายใต้ชื่องาน “Songkhla (Oldtown) Creative District : สงขลาสร้างสรรค์ดูแลให้แลดี” และ ดร. สมศักดิ์ ตันติเศรณี นายกเทศมนตรีนครสงขลา กล่าวถึงความร่วมมือในการทำงานร่วมกับสำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค โดยมีนายจารุวัฒน์ เกลี้ยงเกลา ผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลา เป็นประธานเปิดโครงการอย่างเป็นทางการ
งาน “Songkhla (Oldtown) Creative District : สงขลาสร้างสรรค์ดูแลให้แลดี” ซึ่งประกอบด้วยนิทรรศการ From Concept to Construction: การจัดแสดงผลงานประกวดออกแบบสถาปัตยกรรม สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์สงขลา และนิทรรศการ Portrait of Songkhla: ครอบครัวเมืองเก่าสงขลา 2563 ระหว่างวันที่ 10 – 27 กันยายน 2563 อันมีวัตถุประสงค์เพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจสร้างสรรค์ โดยการขยายบริการและภารกิจของสำนักงานครบทั้ง 3 ภูมิภาค จากการจัดตั้ง TCDC เชียงใหม่ ขอนแก่น มาสู่จังหวัดสงขลา เพื่อร่วมเป็นส่วนหนึ่งกับภาคส่วนต่าง ๆ ในเมืองสงขลาและจังหวัดโดยรอบ ในการเติมความคิดสร้างสรรค์ให้กับเศรษฐกิจของภาคใต้เพื่อนำไปสู่การเพิ่มมูลค่าให้กับสินค้าและบริการ
นิทรรศการ From Concept to Construction : การจัดแสดงผลงานประกวด ออกแบบสถาปัตยกรรม สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ สงขลา โดยจะจัดแสดงแบบและโมเดลจำลองของผู้ชนะ และผลงานของผู้เข้าร่วมการประกวดแบบ จำนวน 25 ผลงาน เพื่อบอกเล่าถึงคอนเซปต์รูปแบบ และรายละเอียด ของตัวอาคาร ที่จะเป็นแลนด์มาร์กแห่งใหม่ในย่านเมืองเก่าสงขลา ณ สถานีดับเพลิง ถนนสายบุรี
สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (องค์การมหาชน) หรือ Creative Economy Agency (Public Organization) : CEA ดำเนินโครงการจัดตั้งสำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ สงขลา ซึ่งเป็นการเปิดสาขาแห่งที่ 3 นับจาก เชียงใหม่และขอนแก่น ซึ่งเป็นการขยายสาขาครบทั้ง 4 ภูมิภาคทั่วประเทศ เพื่อส่งเสริมขีดความสามารถทางการแข่งขันของธุรกิจและเมือง รวมถึงเตรียมความพร้อมของบุคลากร ให้เป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ สงขลา ทำหน้าที่เป็นแหล่งบ่มเพาะองค์ความรู้ และ ส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ในพื้นที่ภาคใต้ อีกทั้ง ยังเป็นแลนด์มาร์กแห่งใหม่ของจังหวัดสงขลา ซึ่งกำลังอยู่ระหว่างการเดินหน้าขึ้นทะเบียนเป็นเมืองมรดกโลกขององค์กรการศึกษา วิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO) โดยมีสถานที่ตั้งอยู่ ณ อาคารสถานีดับเพลิงเก่า ถนนสายบุรีตำบลบ่อยาง อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา โดยปัจจุบันได้ดำเนินการตัดสินผลงานผู้ชนะการประกวดออกแบบอาคารสำนักงาน ส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์สงขลา เสร็จสิ้นแล้วในเดือนสิงหาคมที่ผ่านมา และมีเป้าหมายที่จะเปิดให้บริการภายในปี 2565โดยในระหว่างการดำเนินการจัดตั้งสำนักงานฯ เพื่อเป็นกาสร้างการรับรู้เกี่ยวกับบทบาทและภารกิจของ CEA จึงได้จัดงานเปิดโครงการจัดตั้งสานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ สงขลา ภายใต้ชื่องาน“Songkhla (Oldtown) Creative District : สงขลาสร้างสรรค์ ดูแลให้แลดี” ระหว่างวันที่ 10 – 27 กันยายน2563 ซึ่งเป็นกิจกรรมนำร่องที่สะท้อนถึงศักยภาพของเมืองสงขลาในการเป็นย่านเศรษฐกิจสร้างสรรค์3 ด้าน คือ 1) การมีทุนทางวัฒนธรรมที่หลากหลายเชื้อชาติและศาสนา 2) การมีภาคส่วนท้องถิ่นที่เข้มแข็งในการร่วมขับเคลื่อนเมือง และ 3) การมีโครงสร้างพื้นฐานที่แข็งแกร่ง ทั้งระบบการคมนำคม เศรษฐกิจ โลจิสติกส์ และสถาบันการศึกษา งาน “Songkhla (Old Town) Creative District : สงขลาสร้างสรรค์ ดูแลให้แลดี” ประกอบด้วย นิทรรศการ 2 ส่วน คือ 1. นิทรรศการ “From concept to construction” การจัดแสดงผลงำนของผู้ชนะและ ผู้เข้าร่วมการประกวดออกแบบอาคารสำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ สงขลา ณ บริเวณอาคารสถานี ดับเพลิงเก่า ถนนสายบุรีตำบลบ่อยาง อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา โดยจะจัดแสดงแบบและโมเดลจำลอง ของผู้ชนะ และรองชนะ 3 บริษัท รวมถึงผลงานของผู้เข้าร่วมการประกวดแบบ จำนวน 25 ผลงาน เพื่อบอกเล่า ถึงแนวคิด รูปแบบ และรายละเอียดของตัวอาคารที่จะเป็นแลนด์มาร์กแห่งใหม่ในย่านเมืองเก่าสงขลา พร้อมด้วย ส่วนบริการทั้งห้องสมุดที่เป็นแหล่งความรู้ด้านความคิดสร้างสรรค์แบบครบวงจร เป็นแหล่งพบปะการทำงาน Co-working space และพื้นที่จัดแสดงผลงาน นิทรรศการ และกิจกรรมสร้างสรรค์
2 . นิทรรศกา ร “Portrait of Songkhla : ค รอบค รั วเมืองเ ก่าสง ขลา 2563” ซึ่งจ ะ จัดแสดงในหลายจุดของย่านเมืองเก่าสงขลา เป็นการจัดแสดงภาพถ่ายครอบครัวเพื่อแสดงเอกลักษณ์และคุณค่า ของเมืองสงขลา ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ไม่ว่าจะเป็นตำนานประวัติศาสตร์สังคม ครอบครัว วิถีชีวิต อาชีพ ธุรกิจ และวัฒนธรรมในแง่มุมที่มีคุณค่ำ โดยหัวใจสำคัญอยู่ที่การสร้างการมีส่วนร่วมของชาวเมืองเก่าสงขลา ในทุกกระบวนการ และถ่ายทอดออกมาโดยฝีมือของช่างภาพท้องถิ่นหลากหลายวัย ที่ได้มีการแลกเปลี่ยน องค์ความรู้กับเครือข่ายช่างภาพจากกรุงเทพฯ เพื่อร่วมกันส่งเสริม ต่อยอด และพัฒนำความคิดสร้างสรรค์ ให้เป็นพลังขับเคลื่อนเศรษฐกิจในท้องถิ่นต่อไปโดยขณะที่อาคารฯ อยู่ระหว่างกระบวนการก่อสร้าง สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์(องค์การมหาชน) จะเดินหน้าการทำกิจกรรมและโครงการต่ำงๆ เพื่อนำไปสู่การมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย ในพื้นที่ เช่น การศึกษาและวิจัยแนวคิดการพัฒนาย่านเศรษฐกิจสร้างสรรค์ของสงขลาอย่างมีส่วนร่วม(Co-creation) เพื่อให้ได้แนวทางการพัฒนาที่สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมและความต้องการของคนในพื้นที่ ต่อไปเกี่ยวกับ สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (องค์การมหาชน)สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (องค์การมหาชน) : สศส. หรือ Creative EconomyAgency (Public Organization) : CEA จัดตั้งขึ้นตามพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งสำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (องค์การมหาชน) พ.ศ. 2561 ซึ่งมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 14 สิงหำคม พ.ศ. 2561 หน่วยงานภายใต้สำนักนายกรัฐมนตรี โดยเป็นการยกระดับจาก ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ (TCDC) ให้เป็นหน่วยงานเฉพาะ ด้านที่ทำหน้าที่ในการส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ โดยการพัฒนาปัจจัยที่สนับสนุนอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ให้เติบโต สามารถต่อยอดทุนวัฒนธรรมและเชื่อมต่อกับภาคการผลิตจริง เพื่อยกระดับความสามารถของผู้ประกอบการไทยให้สามารถแข่งขันได้ในระดับสำกล โดยมีแนวทางการดำเนินงานร่วมกับหน่วยงานภาครัฐและเอกชน ดังนี้ 1) การพัฒนานักสร้างสรรค์ (Creative People) ให้เป็นกลุ่มสร้างสรรค์ผลงานเพื่อตอบสนองทั้งด้านเศรษฐกิจและสังคม 2) การพัฒนาย่านเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative District) ให้เป็นแหล่งบ่มเพาะธุรกิจสร้างสรรค์ที่สามารถสร้างรายได้และยกระดับคุณภาพชีวิต 3) การพัฒนาธุรกิจสร้างสรรค์ (CreativeBusiness) เพื่อเพิ่มศักยภาพและความสามารถในการแข่งขันของภาคธุรกิจ 4) การจัดทำแผนพัฒนาและฐานข้อมูลอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ ( Creative Information Center) เพื่อเป็นฐานในการผลักดันเชิงนโยบายการขับเคลื่อนเศรษฐกิจสร้างสรรค์.
สำนักข่าวบ้านข่าว รายงาน
November 24, 2024
November 21, 2024
ชื่อ-สกุล*
อีเมล์*
เว็ปไซต์
แสดงความคิดเห็น
Notify me of follow-up comments by email.
Notify me of new posts by email.
Δ
ทน.สงขลาร่วมเปิดงาน “Songkhla (Oldtown) Creative District : สงขลาสร้างสรรค์ดูแลให้แลดี”
วันพฤหัสบดีที่ 10 กันยายน 2563 เวลา 17.00 น. ณ ลานจอดรถเทศบาล ถนนสายบุรี อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา โดย ดร. อรรชกา สีบุญเรือง ประธานคณะกรรมการสำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ กล่าวต้อนรับ แขกผู้มีเกียรติ และกล่าวถึงวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งสำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์สงขลาสำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (องค์การมหาชน) หรือ สศส. หน่วยงานภายใต้การกำกับดูแลของสำนักนายกรัฐมนตรี ภายใต้ชื่องาน “Songkhla (Oldtown) Creative District : สงขลาสร้างสรรค์ดูแลให้แลดี” และ ดร. สมศักดิ์ ตันติเศรณี นายกเทศมนตรีนครสงขลา กล่าวถึงความร่วมมือในการทำงานร่วมกับสำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค
โดยมีนายจารุวัฒน์ เกลี้ยงเกลา ผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลา เป็นประธานเปิดโครงการอย่างเป็นทางการ
งาน “Songkhla (Oldtown) Creative District : สงขลาสร้างสรรค์ดูแลให้แลดี” ซึ่งประกอบด้วยนิทรรศการ From Concept to Construction: การจัดแสดงผลงานประกวดออกแบบสถาปัตยกรรม สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์สงขลา และนิทรรศการ Portrait of Songkhla: ครอบครัวเมืองเก่าสงขลา 2563 ระหว่างวันที่ 10 – 27 กันยายน 2563 อันมีวัตถุประสงค์เพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจสร้างสรรค์ โดยการขยายบริการและภารกิจของสำนักงานครบทั้ง 3 ภูมิภาค จากการจัดตั้ง TCDC เชียงใหม่ ขอนแก่น มาสู่จังหวัดสงขลา เพื่อร่วมเป็นส่วนหนึ่งกับภาคส่วนต่าง ๆ ในเมืองสงขลาและจังหวัดโดยรอบ ในการเติมความคิดสร้างสรรค์ให้กับเศรษฐกิจของภาคใต้เพื่อนำไปสู่การเพิ่มมูลค่าให้กับสินค้าและบริการ
นิทรรศการ From Concept to Construction : การจัดแสดงผลงานประกวด ออกแบบสถาปัตยกรรม สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ สงขลา โดยจะจัดแสดงแบบและโมเดลจำลองของผู้ชนะ และผลงานของผู้เข้าร่วมการประกวดแบบ จำนวน 25 ผลงาน เพื่อบอกเล่าถึงคอนเซปต์รูปแบบ และรายละเอียด ของตัวอาคาร ที่จะเป็นแลนด์มาร์กแห่งใหม่ในย่านเมืองเก่าสงขลา ณ สถานีดับเพลิง ถนนสายบุรี
สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (องค์การมหาชน) หรือ Creative Economy Agency
(Public Organization) : CEA ดำเนินโครงการจัดตั้งสำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ สงขลา
ซึ่งเป็นการเปิดสาขาแห่งที่ 3 นับจาก เชียงใหม่และขอนแก่น ซึ่งเป็นการขยายสาขาครบทั้ง 4 ภูมิภาคทั่วประเทศ
เพื่อส่งเสริมขีดความสามารถทางการแข่งขันของธุรกิจและเมือง รวมถึงเตรียมความพร้อมของบุคลากร
ให้เป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ สงขลา ทำหน้าที่เป็นแหล่งบ่มเพาะองค์ความรู้ และ ส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ในพื้นที่ภาคใต้ อีกทั้ง ยังเป็นแลนด์มาร์กแห่งใหม่ของจังหวัดสงขลา ซึ่งกำลังอยู่ระหว่างการเดินหน้าขึ้นทะเบียนเป็นเมืองมรดกโลกขององค์กรการศึกษา วิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO) โดยมีสถานที่ตั้งอยู่ ณ อาคารสถานีดับเพลิงเก่า ถนนสายบุรีตำบลบ่อยาง อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา โดยปัจจุบันได้ดำเนินการตัดสินผลงานผู้ชนะการประกวดออกแบบอาคารสำนักงาน ส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์สงขลา เสร็จสิ้นแล้วในเดือนสิงหาคมที่ผ่านมา และมีเป้าหมายที่จะเปิดให้บริการภายในปี 2565โดยในระหว่างการดำเนินการจัดตั้งสำนักงานฯ เพื่อเป็นกาสร้างการรับรู้เกี่ยวกับบทบาทและภารกิจของ CEA จึงได้จัดงานเปิดโครงการจัดตั้งสานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ สงขลา ภายใต้ชื่องาน“Songkhla (Oldtown) Creative District : สงขลาสร้างสรรค์ ดูแลให้แลดี” ระหว่างวันที่ 10 – 27 กันยายน2563 ซึ่งเป็นกิจกรรมนำร่องที่สะท้อนถึงศักยภาพของเมืองสงขลาในการเป็นย่านเศรษฐกิจสร้างสรรค์3 ด้าน
คือ
1) การมีทุนทางวัฒนธรรมที่หลากหลายเชื้อชาติและศาสนา
2) การมีภาคส่วนท้องถิ่นที่เข้มแข็งในการร่วมขับเคลื่อนเมือง และ
3) การมีโครงสร้างพื้นฐานที่แข็งแกร่ง ทั้งระบบการคมนำคม เศรษฐกิจ โลจิสติกส์ และสถาบันการศึกษา
งาน “Songkhla (Old Town) Creative District : สงขลาสร้างสรรค์ ดูแลให้แลดี” ประกอบด้วย
นิทรรศการ 2 ส่วน คือ
1. นิทรรศการ “From concept to construction” การจัดแสดงผลงำนของผู้ชนะและ
ผู้เข้าร่วมการประกวดออกแบบอาคารสำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ สงขลา ณ บริเวณอาคารสถานี
ดับเพลิงเก่า ถนนสายบุรีตำบลบ่อยาง อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา โดยจะจัดแสดงแบบและโมเดลจำลอง
ของผู้ชนะ และรองชนะ 3 บริษัท รวมถึงผลงานของผู้เข้าร่วมการประกวดแบบ จำนวน 25 ผลงาน เพื่อบอกเล่า
ถึงแนวคิด รูปแบบ และรายละเอียดของตัวอาคารที่จะเป็นแลนด์มาร์กแห่งใหม่ในย่านเมืองเก่าสงขลา พร้อมด้วย
ส่วนบริการทั้งห้องสมุดที่เป็นแหล่งความรู้ด้านความคิดสร้างสรรค์แบบครบวงจร เป็นแหล่งพบปะการทำงาน
Co-working space และพื้นที่จัดแสดงผลงาน นิทรรศการ และกิจกรรมสร้างสรรค์
2 . นิทรรศกา ร “Portrait of Songkhla : ค รอบค รั วเมืองเ ก่าสง ขลา 2563” ซึ่งจ ะ
จัดแสดงในหลายจุดของย่านเมืองเก่าสงขลา เป็นการจัดแสดงภาพถ่ายครอบครัวเพื่อแสดงเอกลักษณ์และคุณค่า
ของเมืองสงขลา ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ไม่ว่าจะเป็นตำนานประวัติศาสตร์สังคม ครอบครัว วิถีชีวิต อาชีพ
ธุรกิจ และวัฒนธรรมในแง่มุมที่มีคุณค่ำ โดยหัวใจสำคัญอยู่ที่การสร้างการมีส่วนร่วมของชาวเมืองเก่าสงขลา
ในทุกกระบวนการ และถ่ายทอดออกมาโดยฝีมือของช่างภาพท้องถิ่นหลากหลายวัย ที่ได้มีการแลกเปลี่ยน
องค์ความรู้กับเครือข่ายช่างภาพจากกรุงเทพฯ เพื่อร่วมกันส่งเสริม ต่อยอด และพัฒนำความคิดสร้างสรรค์
ให้เป็นพลังขับเคลื่อนเศรษฐกิจในท้องถิ่นต่อไปโดยขณะที่อาคารฯ อยู่ระหว่างกระบวนการก่อสร้าง สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์(องค์การมหาชน) จะเดินหน้าการทำกิจกรรมและโครงการต่ำงๆ เพื่อนำไปสู่การมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย
ในพื้นที่ เช่น การศึกษาและวิจัยแนวคิดการพัฒนาย่านเศรษฐกิจสร้างสรรค์ของสงขลาอย่างมีส่วนร่วม(Co-creation) เพื่อให้ได้แนวทางการพัฒนาที่สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมและความต้องการของคนในพื้นที่
ต่อไปเกี่ยวกับ สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (องค์การมหาชน)สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (องค์การมหาชน) : สศส. หรือ Creative EconomyAgency (Public Organization) : CEA จัดตั้งขึ้นตามพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งสำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (องค์การมหาชน) พ.ศ. 2561 ซึ่งมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 14 สิงหำคม พ.ศ. 2561 หน่วยงานภายใต้สำนักนายกรัฐมนตรี โดยเป็นการยกระดับจาก ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ (TCDC) ให้เป็นหน่วยงานเฉพาะ
ด้านที่ทำหน้าที่ในการส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ โดยการพัฒนาปัจจัยที่สนับสนุนอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ให้เติบโต สามารถต่อยอดทุนวัฒนธรรมและเชื่อมต่อกับภาคการผลิตจริง เพื่อยกระดับความสามารถของผู้ประกอบการไทยให้สามารถแข่งขันได้ในระดับสำกล โดยมีแนวทางการดำเนินงานร่วมกับหน่วยงานภาครัฐและเอกชน ดังนี้
1) การพัฒนานักสร้างสรรค์ (Creative People) ให้เป็นกลุ่มสร้างสรรค์ผลงานเพื่อตอบสนองทั้งด้านเศรษฐกิจและสังคม
2) การพัฒนาย่านเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative District) ให้เป็นแหล่งบ่มเพาะธุรกิจสร้างสรรค์ที่สามารถสร้างรายได้และยกระดับคุณภาพชีวิต
3) การพัฒนาธุรกิจสร้างสรรค์ (CreativeBusiness) เพื่อเพิ่มศักยภาพและความสามารถในการแข่งขันของภาคธุรกิจ 4) การจัดทำแผนพัฒนาและฐานข้อมูลอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ ( Creative Information Center) เพื่อเป็นฐานในการผลักดันเชิงนโยบายการขับเคลื่อนเศรษฐกิจสร้างสรรค์.
สำนักข่าวบ้านข่าว รายงาน
ข่าวที่เกี่ยวข้อง
ศูนย์อำนวยการรักษาผลประโยชน์ของชาติทางทะเลภาคที่ 2 ช่วยเหลือเหตุเรืออับปางในทะเล บริเวณทางทิศตะวันออกของร่องน้ำสงขลา
November 24, 2024
JUBILEE DIAMOND ฉลองครบรอบ 95 ปี เปิดบ้าน THE ...
November 24, 2024
โรงไฟฟ้าขนอม ร่วมสืบสานประเพณีลอยกระทง สร้างความสุขทั่วอำเภอขนอม
November 21, 2024
โรงไฟฟ้าขนอม ร่วมส่งเสริมสุขภาพชุมชน สนับสนุนอบรม อสม.ใหม่/ทดแทน
November 21, 2024