ช่วงเย็นวันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2559 บริเวณเวทีกลาง ถนนสุรินทรฤาไชย หน้าวัดธ่อ ก็ได้จัดงานขึ้นโดยมีนายสนิท ขาวสอาด ผู้ว่าราชการจังหวัดเพชรบุรี ได้มาเป็นประธานพิธีเปิดงานประเพณีตรุษจีน โดยมีนายธวัชชัย รักขนาม และ พ.ต.ท.ม.ล.กิติบดี ประวิตร รองผู้ว่าราชการจังหวัดเพชรบุรี, นายพลยุทธ อังกินันทน์ รองนายกเทศมนตรีเมืองเพชรบุรี, หัวหน้าส่วนราชการ และประชาชนเข้าร่วมงานนี้มากมาย ภายในงานเทศกาลตรุษจีนปี 2559 นี้ ยังมีหน่วยงานต่าง ๆ พากันจัดกิจกรรมมาแสดงให้ดูกันอย่างสวยงาม ตามประเพณีเทศกาลตรุงจีนจังหวัดเพชรบุรี ที่ได้จัดขึ้นเป็นประจำทุกปี พอถึงเวลาที่เป็นมงคลนายสนิท ขาวสอาด ผู้ว่าราชการจังหวัดเพชรบุรี ก็ได้กล่าวเปิดงาน และยังมีนายประธานวัชัย รักนาม และ พ.ต.ท.ม.ล.กิติบดี ประวิตร และ นายพลยุทธ อังกิอังนันทน์ รองนายกเทศนมตรีเมืองเพชรบุรี พร้อมหัวหน้าส่วนรการ และภาคประชาชน เข้ารวมเปิดงาน เทศกาลตรุษจีน ปี 2559 ถึงเวลาก็ได้ทำ พิธีอัญเชิญเทพเจ้าไฉ่ชิงเอี้ยะและเทพเจ้าองค์อื่นที่เป็นที่เคารพของพี่น้องชาวไทยเชื้อสายจีน เพื่อให้ประชาชนเดินทางเข้าสักการะและการทำหมี่ซั่วกระทะยักษ์ รวมทั้งการออกหน่วยให้บริการเคลื่อนที่ของเทศบาลเมืองเพชรบุรี มี (การแสดงของนักเรียนโรงเรียนอนุบาลแสงมิตร ) (นักเรียนจากโรงเรียนราษฏร์วิทยา ) (นักเรียนจากโรงเรียนในสังกัดเทศบาลเมืองเพชรบุรี ) (การแสดงของนักศึกษามหาวิทยาลัยชนชาติยูนาน ) (การแสดงของนักศึกษามหาวิทยาลัยชนชาติกวางสี
มีกิจกรรมต่าง ๆ ตามชุ้มที่ทางเทศบาลเพชรบุรีได้จัดขึ้นเพื่อส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมให้มีบรรยากาศแบบจีนและมหกรรมอาหารพื้นบ้านของจังหวัดเพชรบุรี ได้เวลาของไฮไลท์ของงานนี้แล้วค่ะนั้นคือ การแสดงเชิดมังกรทอง และมังกรล้อแก้ว การเชิดสิงโต สวยงามตระการตา และได้ สร้างความสนุกสนานให้กับประชาชนที่มาร่วมงานตรุงจีนปีนนี้อย่างมาก ทางเทศบาลเพชรบุรีได้ร่วมกับคณะกรรมการสหสมาคม มูลนิธิชาวจีนในจังหวัดเพชรบุรี 7 คณะถึงเรื่อง การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย และสมาคมกีฬาจังหวัดเพชรบุรีรวมกันจัดงานสืบวัฒน์ธรรมประเพณี โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสืบสานประเพณีและเฉลิมฉลองเทศกาลขึ้นปีใหม่ของชาวไทยเชื้อสายจีนที่อยู่ในจังหวัดเพชรบุรี และยังเป็นการส่งเสริมการท่องเที่ยวของจังหวัดเพชรบุรีและยังเป็นการสร้างความสามัคคีและความสัมพันธ์ระหว่างประชาชนกับองค์กร ราชการและหน่วยงานต่างๆมีมากมาย เป็นที่หน้าดีใจกับประชาชนจังหวัดเพชรบุรีจริงๆค่ะหมดเทศกาลตรุงจีนไม่กี่วันก็ถึงงานประจำปีของเพชรบุรีชั่งเป็นเดือนที่มีแต่ความสุขของคนจังหวัดเพชรบุนีจริง ๆ
สวัดดีวันที่ 7 กุมภาพันพ์ 2559 วันที่หลายคนรอรับ โบนัดจากที่ทำงาน หรือ อั่งเปา จากครอมครัว เดียวขอเล่า ถึงเทศกาล ตรุษ จีนสักหน่อยนะค่ะเทศกาลตรุษจีนเป็นเทศกาลที่สำคัญที่สุดของจีน เพราะชาวจีนถือว่า วันตรุษจีน คือวันขึ้นปีใหม่ตามปฏิทินจีน เช่นเดียวกับสงกรานต์วันปีใหม่ไทย ดังนั้นชาวจีนจึงให้ความสำคัญกับเทศกาลนี้เป็นอย่างยิ่ง และมีการเฉลิมฉลองทั่วโลกโดยเฉพาะชุมชนขนาดใหญ่ของคนเชื้อสายจีน ซึ่งในแต่ละพื้นที่ก็จะมีพิธีเฉลิมฉลองแตกต่างกันไป สำหรับปี 2559 วันตรุษจีนตรงกับวันจันทร์ที่ 8 กุมภาพันธ์
ประวัติวันตรุษจีน มนุษย์ทุกชนชาติ ในโลกใบนี้ ล้วนให้ความสำคัญกับวันต่าง ๆ ในแต่ละรอบปี อาทิ วันขึ้นปีใหม่ที่เป็นสากลทั่วโลก ได้แก่วันที่ 1 มกราคม ของทุกปี วันขึ้นปีใหม่ของชาวไทยก็คือ วันมหาสงกรานต์ แต่สำหรับคนเชื้อสายจีนนั้นวันขึ้นปีใหม่ของจีนคือวันตรุษจีนหรือช่วงเทศกาลตรุษจีนซึ่งจะตรงกับวันที่ 1 เดือน 1 ของจีนตามวันทางจันทรคติถือเป็นวันเริ่มต้นปีใหม่ของปี และเป็นวันแรกของฤดูใบไม้ผลิ ซึ่งจีนจะแบ่งเวลา 1 ปี เป็น 4 ฤดู คือ ชุง แห่ ชิว ตัง
วันตรุษจีนหรือวันปีใหม่ของชาวจีน เนื่องจากประเทศจีนเป็นประเทศเกษตรกรรมมาแต่โบราณ เมื่อหมดหน้าหนาวที่ทำการเพาะปลูกไม่ได้ มาเข้าฤดูใบไม้ผลิที่อากาศดี จะได้เริ่มต้นทำนาทำสวน จึงมีการบวงสรวงต่อเทพยดา เซ่นไหว้บรรพบุรุษ อธิษฐานให้ได้พืชผลอุดมสมบูรณ์ ให้กิจการงานก้าวหน้า ตรงนี้น่าจะเป็นที่มาของตำนานการไหว้เจ้าในวันตรุษจีน ที่เรียกว่า “ ง่วงตั้งโจ่ย ” แต่เนื่องจากธรรมเนียมการไหว้วันตรุษจีนจะต่อเนื่องกันมาจากวันไหว้สิ้นปี และมีธรรมเนียมการทำความสะอาดบ้านก่อนหน้าอีกด้วย จึงขออธิบายเป็นเรื่องสืบเนื่องต่อกันว่า ฤดูวันทางจีนจะเป็นแบบจันทรคติ บางเดือนมี 29 วัน เรียกว่าเดือนสั้น หรือบางเดือนมี 30 วัน เรียกว่าเดือนยาวทำให้เดือน 12 ของแต่ละปี บางครั้งก็มี 29 วัน บางปีก็มี 30 วัน เทศกาลตรุษจีน
แต่คนไทยจะติดเป็นความเคยชินว่า วันสิ้นปีจะเป็นวันที่ 31 แต่ของจีนจะไม่ใช่ พอใกล้ ๆ จะสิ้นปี ชาวจีนจะนิยมทำความสะอาดบ้านครั้งใหญ่ เรียกว่า ล้างบ้าน พานหยากไย่กันแทบทุกซอกมุม ครั้งพอถึงช่วงเทศกาล จะมีการหยุดงาน หยุดกิจการค้า เพื่อทำพิธีไหว้เจ้าที่ ต้องไหว้ 2 วันซ้อน ซึ่งมีไหว้กลางดึกด้วย นอกจากนี้ก็จะได้ใช้เวลาในช่วงนี้ไปเยี่ยมคารวะผู้ใหญ่ญาติมิตรที่เคารพนับถือ และเที่ยวพักผ่อน จึงมีสำนวนของวันตรุษจีน ว่า “วันจ่าย วันไหว้ วันถือ”
วันจ่าย คือ วันก่อนสิ้นปี 1 วัน ใครจะต้องซื้อหาเตรียมของอะไรแล้วยังไม่เรียบร้อย ก็ให้ทำให้เสร็จในวันจ่ายก่อนที่ร้านค้าจะหยุดยาวในวันตรุษจีน
วันไหว้ การไหว้ในวันสิ้นปี จะเป็นการไหว้เจ้าที่ในตอนเช้า ตามด้วยการไหว้บรรพบุรุษในตอนสาย แล้วไหว้ผีไม่มีญาติในตอนบ่าย ซึ่งการไหว้ผีไม่มีญาตินี้ บางบ้านก็ไม่นิยมไหว้ในวันตรุษจีน
วันถือ คือวันตรุษจีน โดยถือกันว่าในวันนี้ทุกคนจะพูดและทำแต่สิ่งที่เป็นมงคล เช่น ไม่มีการพูดว่ากัน แต่จะกล่าวคำอวยพร “ซินเจียยู่อี่ ซินนี้ฮวดไช้” แปลเป็นไทย คือ “ขอให้โชคดีปีใหม่” นั่นเอง การถืออื่น ๆที่นิยมว่าถือกัน เช่น ห้ามจับไม้กวาด หรือห้ามกวาดบ้าน เพราะอาจเป็นการกวาดสิ่งดี ๆ ในบ้านออกไป แล้วกวาดสิ่งไม่ดีเข้ามา วันถือนี้ บางคนก็เรียกวันเที่ยว ซึ่งคงมาจากธรรมเนียมการออกไปเที่ยวพักผ่อนกันทั้งครอบครัวในวันตรุษจีน
วันก่อนวันตรุษจีนนั้นเป็นวันแห่งการการรอคอยจะว่าไปถือวันที่น่าตื่นเต้นมากที่สุด ในบรรดาการฉลองทั้งหมดเห็นจะได้ ประเพณีและพิธีกรรมต่างๆ นั้นผูกไว้กับทุกสิ่งทุกอย่าง ตั้งแต่ อาหาร ไปจนถึงเสื้อผ้า อาหารค่ำนั้นประกอบด้วยอาหารทะเล และอาหารนึ่งเช่นขนมจีบ ซึ่งแต่ละอย่างจะมีความหมายต่างๆ กัน อาหารอันโอชะอย่างเช่นกุ้งจะหมายถึงชีวิตที่รุ่งเรือง และความสุข เป๋าฮื้อแห้งหมายถึงทุกสิ่งทุกอย่างที่ดี สลัดปลาสดจะนำมาซึ่งโชคดี จี้ไช่ สาร่ายดูคล้ายผมแต่กินได้จะนำความความร่ำรวยมาให้ และขนมต้ม หมายถึงบรรพชนอวยพร และเป็นธรรมดาเสื้อผ้าที่ใส่สีแดงถือเป็นสีที่เป็นมงคลเป็นการไล่ปีศาจร้ายให้ออกไป และการใส่สีดำหรือขาวเป็นสิ่งต้องห้าม ซึ่งสีเหล่านี้ถือว่าเป็นสีแห่งการไว้ทุกข์ หลังจากอาหารค่ำทุกคนในครอบครัวนั่งกันจนเช้าเพื่อรอวันใหม่โดยการเล่นเกม เล่นไพ่ หรือดูรายการทีวีที่เกี่ยวกับวันตรุษจีน และในวันนี้จะต้องไม่โกรธริษยา หรือ ไม่พอใจ เพื่อเป็นสิริมงคลที่ดีสำหรับปีที่กำลังจะมาถึง คำว่า อั่งเปา และ แต๊ะเอีย มีที่มาอย่างไร
อั่งเปา หมายถึง ห่อสีแดง โดย คำว่า “อั่ง” แปลว่า สีแดง ส่วนคำว่า “เปา” แปลว่า ซอง ห่อในอดีตใช้ผ้าห่อสีแดง ใส่ของมงคลมอบให้แก่กัน เช่น ส้ม กำไลหยกและเงิน เป็นต้น ในปัจจุบันใช้แทนซองสีแดงหรือสีชมพูใส่เงินที่ผู้ใหญ่มอบให้ลูกหลาน
แต๊ะเอีย หมายถึง ของที่มากดทับหรือผูกที่เอว โดยคำว่า “แต๊ะ” แปลว่า ทับ กดหรือผูก ส่วน “เอีย” แปลว่า เอว ในสมัยก่อน ชาวจีนมักจะนำเชือกสีแดง ร้อยด้วยเหรียญเงินเป็นพวงๆ นำมาผูกที่เอวเด็กในวันตรุษจีน เป็นการมอบเหรียญเงินให้แก่เด็ก และเนื่องจากเหรียญเงินเสียงดังกรุ๊งกริ๊ง ทำให้ทราบว่าเด็กวิ่งเล่นอยู่บริเวณใด ป้องกันการตกน้ำได้ด้วย
เมื่อถึงวันตรุษจีน ประเพณีตั้งแต่โบราณมาเรียกว่า อังเปา ซึ่งหมายถึง กระเป๋าแดงเป็นการที่คู่แต่งงานให้เงินเด็กๆ และผู้ใหญ่ที่ยังไม่ได้แต่งงานในซองสีแดง หลังจากนั้นทุกคน ในครอบครัว ต่าง ออกมาเพื่อกล่าวสวัสดีปีใหม่ เริ่มจากญาติๆ แล้วต่อด้วยเพื่อนบ้าน ซึ่งคงคล้ายกับการที่ชาวตะวันตกพูดว่า “Let bygones be bygones” หรืออะไรที่ผ่านไปแล้วก็ให้มันผ่านไป ในวันตรุษนี้ อารมณ์โมโหโกรธาจะถูกลืม และไม่สนใจ การฉลองวันตรุษจีนสิ้นสุดลงในงานโคมไฟ ซึ่งฉลองโดยการร้องเพลง เต้นรำ และงานแสดงโคมไฟ ถึงแม้ว่าการฉลองวันตรุษจีน จะมีแตกต่างกันออกไปแต่สิ่งที่เหมือนกัน คือ การอวยพร ความสงบ และความสุขให้กับคนในครอบครัวและเพื่อนทุกคนนั้นเองค่ะ ขอบคุณเรื่องจากคุณโส อานนท์.
เว็บไซต์ Bankaonews.com
November 21, 2024
November 20, 2024
November 19, 2024
ชื่อ-สกุล*
อีเมล์*
เว็ปไซต์
แสดงความคิดเห็น
Notify me of follow-up comments by email.
Notify me of new posts by email.
Δ
จังหวัดเพชรบุรีจัดงานประเพณีตรุษจีน
ช่วงเย็นวันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2559 บริเวณเวทีกลาง ถนนสุรินทรฤาไชย หน้าวัดธ่อ ก็ได้จัดงานขึ้นโดยมีนายสนิท ขาวสอาด ผู้ว่าราชการจังหวัดเพชรบุรี ได้มาเป็นประธานพิธีเปิดงานประเพณีตรุษจีน โดยมีนายธวัชชัย รักขนาม และ พ.ต.ท.ม.ล.กิติบดี ประวิตร รองผู้ว่าราชการจังหวัดเพชรบุรี, นายพลยุทธ อังกินันทน์ รองนายกเทศมนตรีเมืองเพชรบุรี, หัวหน้าส่วนราชการ และประชาชนเข้าร่วมงานนี้มากมาย ภายในงานเทศกาลตรุษจีนปี 2559 นี้ ยังมีหน่วยงานต่าง ๆ พากันจัดกิจกรรมมาแสดงให้ดูกันอย่างสวยงาม ตามประเพณีเทศกาลตรุงจีนจังหวัดเพชรบุรี ที่ได้จัดขึ้นเป็นประจำทุกปี พอถึงเวลาที่เป็นมงคลนายสนิท ขาวสอาด ผู้ว่าราชการจังหวัดเพชรบุรี ก็ได้กล่าวเปิดงาน และยังมีนายประธานวัชัย รักนาม และ พ.ต.ท.ม.ล.กิติบดี ประวิตร และ นายพลยุทธ อังกิอังนันทน์ รองนายกเทศนมตรีเมืองเพชรบุรี พร้อมหัวหน้าส่วนรการ และภาคประชาชน เข้ารวมเปิดงาน เทศกาลตรุษจีน ปี 2559 ถึงเวลาก็ได้ทำ พิธีอัญเชิญเทพเจ้าไฉ่ชิงเอี้ยะและเทพเจ้าองค์อื่นที่เป็นที่เคารพของพี่น้องชาวไทยเชื้อสายจีน เพื่อให้ประชาชนเดินทางเข้าสักการะและการทำหมี่ซั่วกระทะยักษ์ รวมทั้งการออกหน่วยให้บริการเคลื่อนที่ของเทศบาลเมืองเพชรบุรี มี (การแสดงของนักเรียนโรงเรียนอนุบาลแสงมิตร ) (นักเรียนจากโรงเรียนราษฏร์วิทยา ) (นักเรียนจากโรงเรียนในสังกัดเทศบาลเมืองเพชรบุรี ) (การแสดงของนักศึกษามหาวิทยาลัยชนชาติยูนาน ) (การแสดงของนักศึกษามหาวิทยาลัยชนชาติกวางสี
มีกิจกรรมต่าง ๆ ตามชุ้มที่ทางเทศบาลเพชรบุรีได้จัดขึ้นเพื่อส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมให้มีบรรยากาศแบบจีนและมหกรรมอาหารพื้นบ้านของจังหวัดเพชรบุรี ได้เวลาของไฮไลท์ของงานนี้แล้วค่ะนั้นคือ การแสดงเชิดมังกรทอง และมังกรล้อแก้ว การเชิดสิงโต สวยงามตระการตา และได้ สร้างความสนุกสนานให้กับประชาชนที่มาร่วมงานตรุงจีนปีนนี้อย่างมาก ทางเทศบาลเพชรบุรีได้ร่วมกับคณะกรรมการสหสมาคม มูลนิธิชาวจีนในจังหวัดเพชรบุรี 7 คณะถึงเรื่อง การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย และสมาคมกีฬาจังหวัดเพชรบุรีรวมกันจัดงานสืบวัฒน์ธรรมประเพณี โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสืบสานประเพณีและเฉลิมฉลองเทศกาลขึ้นปีใหม่ของชาวไทยเชื้อสายจีนที่อยู่ในจังหวัดเพชรบุรี และยังเป็นการส่งเสริมการท่องเที่ยวของจังหวัดเพชรบุรีและยังเป็นการสร้างความสามัคคีและความสัมพันธ์ระหว่างประชาชนกับองค์กร ราชการและหน่วยงานต่างๆมีมากมาย เป็นที่หน้าดีใจกับประชาชนจังหวัดเพชรบุรีจริงๆค่ะหมดเทศกาลตรุงจีนไม่กี่วันก็ถึงงานประจำปีของเพชรบุรีชั่งเป็นเดือนที่มีแต่ความสุขของคนจังหวัดเพชรบุนีจริง ๆ
สวัดดีวันที่ 7 กุมภาพันพ์ 2559 วันที่หลายคนรอรับ
โบนัดจากที่ทำงาน หรือ อั่งเปา จากครอมครัว เดียวขอเล่า ถึงเทศกาล ตรุษ จีนสักหน่อยนะค่ะเทศกาลตรุษจีนเป็นเทศกาลที่สำคัญที่สุดของจีน เพราะชาวจีนถือว่า วันตรุษจีน คือวันขึ้นปีใหม่ตามปฏิทินจีน เช่นเดียวกับสงกรานต์วันปีใหม่ไทย ดังนั้นชาวจีนจึงให้ความสำคัญกับเทศกาลนี้เป็นอย่างยิ่ง และมีการเฉลิมฉลองทั่วโลกโดยเฉพาะชุมชนขนาดใหญ่ของคนเชื้อสายจีน ซึ่งในแต่ละพื้นที่ก็จะมีพิธีเฉลิมฉลองแตกต่างกันไป สำหรับปี 2559 วันตรุษจีนตรงกับวันจันทร์ที่ 8 กุมภาพันธ์
ประวัติวันตรุษจีน
มนุษย์ทุกชนชาติ ในโลกใบนี้ ล้วนให้ความสำคัญกับวันต่าง ๆ ในแต่ละรอบปี อาทิ วันขึ้นปีใหม่ที่เป็นสากลทั่วโลก ได้แก่วันที่ 1 มกราคม ของทุกปี วันขึ้นปีใหม่ของชาวไทยก็คือ วันมหาสงกรานต์ แต่สำหรับคนเชื้อสายจีนนั้นวันขึ้นปีใหม่ของจีนคือวันตรุษจีนหรือช่วงเทศกาลตรุษจีนซึ่งจะตรงกับวันที่ 1 เดือน 1 ของจีนตามวันทางจันทรคติถือเป็นวันเริ่มต้นปีใหม่ของปี และเป็นวันแรกของฤดูใบไม้ผลิ ซึ่งจีนจะแบ่งเวลา 1 ปี เป็น 4 ฤดู คือ ชุง แห่ ชิว ตัง
วันตรุษจีนหรือวันปีใหม่ของชาวจีน
เนื่องจากประเทศจีนเป็นประเทศเกษตรกรรมมาแต่โบราณ เมื่อหมดหน้าหนาวที่ทำการเพาะปลูกไม่ได้ มาเข้าฤดูใบไม้ผลิที่อากาศดี จะได้เริ่มต้นทำนาทำสวน จึงมีการบวงสรวงต่อเทพยดา เซ่นไหว้บรรพบุรุษ อธิษฐานให้ได้พืชผลอุดมสมบูรณ์ ให้กิจการงานก้าวหน้า ตรงนี้น่าจะเป็นที่มาของตำนานการไหว้เจ้าในวันตรุษจีน ที่เรียกว่า “ ง่วงตั้งโจ่ย ” แต่เนื่องจากธรรมเนียมการไหว้วันตรุษจีนจะต่อเนื่องกันมาจากวันไหว้สิ้นปี และมีธรรมเนียมการทำความสะอาดบ้านก่อนหน้าอีกด้วย จึงขออธิบายเป็นเรื่องสืบเนื่องต่อกันว่า ฤดูวันทางจีนจะเป็นแบบจันทรคติ บางเดือนมี 29 วัน เรียกว่าเดือนสั้น หรือบางเดือนมี 30 วัน เรียกว่าเดือนยาวทำให้เดือน 12 ของแต่ละปี บางครั้งก็มี 29 วัน บางปีก็มี 30 วัน
เทศกาลตรุษจีน
แต่คนไทยจะติดเป็นความเคยชินว่า วันสิ้นปีจะเป็นวันที่ 31 แต่ของจีนจะไม่ใช่ พอใกล้ ๆ จะสิ้นปี ชาวจีนจะนิยมทำความสะอาดบ้านครั้งใหญ่ เรียกว่า ล้างบ้าน พานหยากไย่กันแทบทุกซอกมุม ครั้งพอถึงช่วงเทศกาล จะมีการหยุดงาน หยุดกิจการค้า เพื่อทำพิธีไหว้เจ้าที่ ต้องไหว้ 2 วันซ้อน ซึ่งมีไหว้กลางดึกด้วย นอกจากนี้ก็จะได้ใช้เวลาในช่วงนี้ไปเยี่ยมคารวะผู้ใหญ่ญาติมิตรที่เคารพนับถือ และเที่ยวพักผ่อน จึงมีสำนวนของวันตรุษจีน ว่า “วันจ่าย วันไหว้ วันถือ”
วันจ่าย คือ วันก่อนสิ้นปี 1 วัน ใครจะต้องซื้อหาเตรียมของอะไรแล้วยังไม่เรียบร้อย ก็ให้ทำให้เสร็จในวันจ่ายก่อนที่ร้านค้าจะหยุดยาวในวันตรุษจีน
วันไหว้ การไหว้ในวันสิ้นปี จะเป็นการไหว้เจ้าที่ในตอนเช้า ตามด้วยการไหว้บรรพบุรุษในตอนสาย แล้วไหว้ผีไม่มีญาติในตอนบ่าย ซึ่งการไหว้ผีไม่มีญาตินี้ บางบ้านก็ไม่นิยมไหว้ในวันตรุษจีน
วันถือ คือวันตรุษจีน โดยถือกันว่าในวันนี้ทุกคนจะพูดและทำแต่สิ่งที่เป็นมงคล เช่น ไม่มีการพูดว่ากัน แต่จะกล่าวคำอวยพร “ซินเจียยู่อี่ ซินนี้ฮวดไช้” แปลเป็นไทย คือ “ขอให้โชคดีปีใหม่” นั่นเอง การถืออื่น ๆที่นิยมว่าถือกัน เช่น ห้ามจับไม้กวาด หรือห้ามกวาดบ้าน เพราะอาจเป็นการกวาดสิ่งดี ๆ ในบ้านออกไป แล้วกวาดสิ่งไม่ดีเข้ามา วันถือนี้ บางคนก็เรียกวันเที่ยว ซึ่งคงมาจากธรรมเนียมการออกไปเที่ยวพักผ่อนกันทั้งครอบครัวในวันตรุษจีน
วันก่อนวันตรุษจีนนั้นเป็นวันแห่งการการรอคอยจะว่าไปถือวันที่น่าตื่นเต้นมากที่สุด ในบรรดาการฉลองทั้งหมดเห็นจะได้ ประเพณีและพิธีกรรมต่างๆ นั้นผูกไว้กับทุกสิ่งทุกอย่าง ตั้งแต่ อาหาร ไปจนถึงเสื้อผ้า อาหารค่ำนั้นประกอบด้วยอาหารทะเล และอาหารนึ่งเช่นขนมจีบ ซึ่งแต่ละอย่างจะมีความหมายต่างๆ กัน อาหารอันโอชะอย่างเช่นกุ้งจะหมายถึงชีวิตที่รุ่งเรือง และความสุข เป๋าฮื้อแห้งหมายถึงทุกสิ่งทุกอย่างที่ดี สลัดปลาสดจะนำมาซึ่งโชคดี จี้ไช่ สาร่ายดูคล้ายผมแต่กินได้จะนำความความร่ำรวยมาให้ และขนมต้ม หมายถึงบรรพชนอวยพร และเป็นธรรมดาเสื้อผ้าที่ใส่สีแดงถือเป็นสีที่เป็นมงคลเป็นการไล่ปีศาจร้ายให้ออกไป และการใส่สีดำหรือขาวเป็นสิ่งต้องห้าม ซึ่งสีเหล่านี้ถือว่าเป็นสีแห่งการไว้ทุกข์ หลังจากอาหารค่ำทุกคนในครอบครัวนั่งกันจนเช้าเพื่อรอวันใหม่โดยการเล่นเกม เล่นไพ่ หรือดูรายการทีวีที่เกี่ยวกับวันตรุษจีน และในวันนี้จะต้องไม่โกรธริษยา หรือ ไม่พอใจ เพื่อเป็นสิริมงคลที่ดีสำหรับปีที่กำลังจะมาถึง
คำว่า อั่งเปา และ แต๊ะเอีย มีที่มาอย่างไร
อั่งเปา หมายถึง ห่อสีแดง โดย คำว่า “อั่ง” แปลว่า สีแดง ส่วนคำว่า “เปา” แปลว่า ซอง ห่อในอดีตใช้ผ้าห่อสีแดง ใส่ของมงคลมอบให้แก่กัน เช่น ส้ม กำไลหยกและเงิน เป็นต้น ในปัจจุบันใช้แทนซองสีแดงหรือสีชมพูใส่เงินที่ผู้ใหญ่มอบให้ลูกหลาน
แต๊ะเอีย หมายถึง ของที่มากดทับหรือผูกที่เอว โดยคำว่า “แต๊ะ” แปลว่า ทับ กดหรือผูก ส่วน “เอีย” แปลว่า เอว ในสมัยก่อน ชาวจีนมักจะนำเชือกสีแดง ร้อยด้วยเหรียญเงินเป็นพวงๆ นำมาผูกที่เอวเด็กในวันตรุษจีน เป็นการมอบเหรียญเงินให้แก่เด็ก และเนื่องจากเหรียญเงินเสียงดังกรุ๊งกริ๊ง ทำให้ทราบว่าเด็กวิ่งเล่นอยู่บริเวณใด ป้องกันการตกน้ำได้ด้วย
เมื่อถึงวันตรุษจีน ประเพณีตั้งแต่โบราณมาเรียกว่า อังเปา ซึ่งหมายถึง กระเป๋าแดงเป็นการที่คู่แต่งงานให้เงินเด็กๆ และผู้ใหญ่ที่ยังไม่ได้แต่งงานในซองสีแดง หลังจากนั้นทุกคน ในครอบครัว ต่าง ออกมาเพื่อกล่าวสวัสดีปีใหม่ เริ่มจากญาติๆ แล้วต่อด้วยเพื่อนบ้าน ซึ่งคงคล้ายกับการที่ชาวตะวันตกพูดว่า “Let bygones be bygones” หรืออะไรที่ผ่านไปแล้วก็ให้มันผ่านไป ในวันตรุษนี้ อารมณ์โมโหโกรธาจะถูกลืม และไม่สนใจ การฉลองวันตรุษจีนสิ้นสุดลงในงานโคมไฟ ซึ่งฉลองโดยการร้องเพลง เต้นรำ และงานแสดงโคมไฟ ถึงแม้ว่าการฉลองวันตรุษจีน จะมีแตกต่างกันออกไปแต่สิ่งที่เหมือนกัน คือ การอวยพร ความสงบ และความสุขให้กับคนในครอบครัวและเพื่อนทุกคนนั้นเองค่ะ ขอบคุณเรื่องจากคุณโส อานนท์.
เว็บไซต์ Bankaonews.com
ข่าวที่เกี่ยวข้อง
โรงไฟฟ้าขนอม ร่วมสืบสานประเพณีลอยกระทง สร้างความสุขทั่วอำเภอขนอม
November 21, 2024
โรงไฟฟ้าขนอม ร่วมส่งเสริมสุขภาพชุมชน สนับสนุนอบรม อสม.ใหม่/ทดแทน
November 21, 2024
อบจ.สงขลา ร่วมรับรางวัลประกาศเกียรติคุณ “ค่าของแผ่นดิน” ประจำปี 2566 ด้านการพัฒนาสังคมและส่งเสริมคุณภาพชีวิต จากโครงการ ...
November 20, 2024
อโกด้าเผย หาดใหญ่คว้าแชมป์เมืองท่องเที่ยวที่คุ้มค่าที่สุดในไทย ช่วงเทศกาลส่งท้ายปี
November 19, 2024