คณะผู้บริหารและทีมวิจัยจากมหาวิทยาลัยหาดใหญ่ จัดโครงการวิจัยและประชุมรับฟังแผนการดำเนินงานโครงการ “การจัดการความรู้ของชุมชน เพื่อการจัดการทรัพยากรป่าชายเลนแบบผสมผสาน บริเวณพื้นที่คาบสมุทรสทิงพระ จังหวัดสงขลา” ณ ศูนย์การเรียนรู้กลุ่มอนุรักษ์ชายฝั่งและฟาร์มทะเล ชุมชนบ้านใหม่ (ท่าเสา) หมู่ที่ 1 ตำบลสทิงหม้อ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา
วันที่ 9 เมษายน 2567 ดร.นิวัตน์ สวัสดิ์แก้ว รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนานักศึกษาและชุมชนสัมพันธ์ พร้อมทีมวิจัย มหาวิทยาลัยหาดใหญ่ ลงพื้นที่โครงการวิจัยและประชุมรับฟังแผนการดำเนินงานโครงการ “การจัดการความรู้ของชุมชน เพื่อการจัดการทรัพยากรป่าชายเลนแบบผสมผสาน บริเวณพื้นที่คาบสมุทรสทิงพระ จังหวัดสงขลา” ณ ศูนย์การเรียนรู้กลุ่มอนุรักษ์ชายฝั่งและฟาร์มทะเล ชุมชนบ้านใหม่ (ท่าเสา) หมู่ที่ 1 ตำบลสทิงหม้อ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา ซึ่งได้รับการสนับสนุนทุนอุดหนุนการวิจัยและนวัตกรรม ประจำปีงบประมาณ 2567 จากสำนักงานวิจัยแห่งชาติ (วช.)
โดยมีนายธัญญวัฒน์ วัตตธรรม ปลัดอาวุโส อำเภอสิงหนคร เป็นประธานกล่าวต้อนรับผู้เข้าร่วมประชุม และอาจารย์วินิดา หมัดเบ็ญหมาน อาจารย์ประจำคณะศึกษาศาสตร์และศิลปศาสตร์ หัวหน้าโครงการได้กล่าวนำเสนอแผนการดำเนินงาน ซึ่งโครงการวิจัยในครั้งนี้เป็นการจัดการความรู้ของชุมชน เพื่อการจัดการทรัพยากรป่าชายเลนแบบผสมผสาน บริเวณพื้นที่คาบสมุทรสทิงพระ จังหวัดสงขลา มุ่งเน้นจัดการองค์ความรู้จัดการทรัพยากรป่าชายเลนแบบผสมผสาน ซึ่งการจัดการความรู้ในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อจัดการความรู้และเผยแพร่องค์ความรู้ในการจัดการทรัพยากรป่าชายเลนให้มี ความสอดคล้องกับวิถีชีวิตของชุมชน เพื่อพัฒนาแกนนำให้เป็นนวัตกรชุมชนด้านการจัดการทรัพยากรป่าชายเลนแบบผสมผสานและเพื่อยกระดับสิ่งแวดล้อมและสังคมที่เกิดจากการมีส่วนร่วมของชุมชนบริเวณพื้นที่คาบสมุทรสทิงพระ และนำไปสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน
อาจารย์วินิดา หมัดเบ็ญหมาน อาจารย์ประจำคณะศึกษาศาสตร์และศิลปศาสตร์ หัวหน้าโครงการ กล่าวว่า โครงการนี้มีระยะในการดำเนินงาน 1ปี โดยมีเป้าหมายต้องการเพิ่มจำนวนป่าชายเลนใน ชุมชนพื้นที่ 3 อำเภอบริเวณคาบสมุทรสทิงพระ และจัดทำคู่มือชุดความรู้ เรื่องการจัดการทรัพยากรป่าชายเลนแบบผสมผสานที่เหมาะสมสำหรับพื้นที่คาบสมุทรสทิงพระ จังหวัดสงขลา โดยมีองค์ความรู้ 4 เรื่อง ประกอบด้วย การเตรียมกล้าไม้ที่เหมาะสมกับพื้นที่ การเพาะพันธุ์กล้าไม้ การปลูกป่าชายเลนแบบผสมผสาน และ การดูแลรักษาป่าชายเลน ซึ่งผลลัพธ์ของโครงการ จะช่วยในเรื่องการเพิ่มพื้นที่สีเขียวให้กับชุมชนและเป็นแหล่งอนุบาลให้กับสัตว์น้ำ ทรัพยากรเหล่านี้จะสร้างความเข้มแข็งและยั่งยืนให้กับชุมชน.
สำนักข่าวบ้านข่าว รายงาน
May 14, 2025
May 13, 2025
ชื่อ-สกุล*
อีเมล์*
เว็ปไซต์
แสดงความคิดเห็น
Notify me of follow-up comments by email.
Notify me of new posts by email.
Δ
คณะผู้บริหารและทีมวิจัยจากมหาวิทยาลัยหาดใหญ่ จัดโครงการวิจัยและประชุมรับฟังแผนการดำเนินงานโครงการ “การจัดการความรู้ของชุมชน เพื่อการจัดการทรัพยากรป่าชายเลนแบบผสมผสาน บริเวณพื้นที่คาบสมุทรสทิงพระ จังหวัดสงขลา”
คณะผู้บริหารและทีมวิจัยจากมหาวิทยาลัยหาดใหญ่ จัดโครงการวิจัยและประชุมรับฟังแผนการดำเนินงานโครงการ “การจัดการความรู้ของชุมชน เพื่อการจัดการทรัพยากรป่าชายเลนแบบผสมผสาน บริเวณพื้นที่คาบสมุทรสทิงพระ จังหวัดสงขลา” ณ ศูนย์การเรียนรู้กลุ่มอนุรักษ์ชายฝั่งและฟาร์มทะเล ชุมชนบ้านใหม่ (ท่าเสา) หมู่ที่ 1 ตำบลสทิงหม้อ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา
วันที่ 9 เมษายน 2567 ดร.นิวัตน์ สวัสดิ์แก้ว รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนานักศึกษาและชุมชนสัมพันธ์ พร้อมทีมวิจัย มหาวิทยาลัยหาดใหญ่ ลงพื้นที่โครงการวิจัยและประชุมรับฟังแผนการดำเนินงานโครงการ “การจัดการความรู้ของชุมชน เพื่อการจัดการทรัพยากรป่าชายเลนแบบผสมผสาน บริเวณพื้นที่คาบสมุทรสทิงพระ จังหวัดสงขลา” ณ ศูนย์การเรียนรู้กลุ่มอนุรักษ์ชายฝั่งและฟาร์มทะเล ชุมชนบ้านใหม่ (ท่าเสา) หมู่ที่ 1 ตำบลสทิงหม้อ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา ซึ่งได้รับการสนับสนุนทุนอุดหนุนการวิจัยและนวัตกรรม ประจำปีงบประมาณ 2567 จากสำนักงานวิจัยแห่งชาติ (วช.)
โดยมีนายธัญญวัฒน์ วัตตธรรม ปลัดอาวุโส อำเภอสิงหนคร เป็นประธานกล่าวต้อนรับผู้เข้าร่วมประชุม และอาจารย์วินิดา หมัดเบ็ญหมาน อาจารย์ประจำคณะศึกษาศาสตร์และศิลปศาสตร์ หัวหน้าโครงการได้กล่าวนำเสนอแผนการดำเนินงาน ซึ่งโครงการวิจัยในครั้งนี้เป็นการจัดการความรู้ของชุมชน เพื่อการจัดการทรัพยากรป่าชายเลนแบบผสมผสาน บริเวณพื้นที่คาบสมุทรสทิงพระ จังหวัดสงขลา มุ่งเน้นจัดการองค์ความรู้จัดการทรัพยากรป่าชายเลนแบบผสมผสาน ซึ่งการจัดการความรู้ในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อจัดการความรู้และเผยแพร่องค์ความรู้ในการจัดการทรัพยากรป่าชายเลนให้มี ความสอดคล้องกับวิถีชีวิตของชุมชน เพื่อพัฒนาแกนนำให้เป็นนวัตกรชุมชนด้านการจัดการทรัพยากรป่าชายเลนแบบผสมผสานและเพื่อยกระดับสิ่งแวดล้อมและสังคมที่เกิดจากการมีส่วนร่วมของชุมชนบริเวณพื้นที่คาบสมุทรสทิงพระ และนำไปสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน
อาจารย์วินิดา หมัดเบ็ญหมาน อาจารย์ประจำคณะศึกษาศาสตร์และศิลปศาสตร์ หัวหน้าโครงการ กล่าวว่า โครงการนี้มีระยะในการดำเนินงาน 1ปี โดยมีเป้าหมายต้องการเพิ่มจำนวนป่าชายเลนใน ชุมชนพื้นที่ 3 อำเภอบริเวณคาบสมุทรสทิงพระ และจัดทำคู่มือชุดความรู้ เรื่องการจัดการทรัพยากรป่าชายเลนแบบผสมผสานที่เหมาะสมสำหรับพื้นที่คาบสมุทรสทิงพระ จังหวัดสงขลา โดยมีองค์ความรู้ 4 เรื่อง ประกอบด้วย การเตรียมกล้าไม้ที่เหมาะสมกับพื้นที่ การเพาะพันธุ์กล้าไม้ การปลูกป่าชายเลนแบบผสมผสาน และ การดูแลรักษาป่าชายเลน ซึ่งผลลัพธ์ของโครงการ จะช่วยในเรื่องการเพิ่มพื้นที่สีเขียวให้กับชุมชนและเป็นแหล่งอนุบาลให้กับสัตว์น้ำ ทรัพยากรเหล่านี้จะสร้างความเข้มแข็งและยั่งยืนให้กับชุมชน.
สำนักข่าวบ้านข่าว รายงาน
ข่าวที่เกี่ยวข้อง
มหาวิทยาลัยหาดใหญ่ จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ระหว่างมหาวิทยาลัยหาดใหญ่และผู้ประกอบการนักศึกษา โครงการ HU Startup ...
May 14, 2025
อบจ.สงขลา เดินหน้า “สงขลาเมืองอาหาร“ จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ เพื่อผลักดันเมืองสงขลาเข้าสู่เมืองสร้างสรรค์ของยูเนสโก
May 14, 2025
กิจกรรมขับเคลื่อนสายงาน รวฟ.
May 13, 2025
โรงไฟฟ้าขนอม ตอกย้ำความมุ่งมั่นในการดำเนินธุรกิจด้วยความโปร่งใสและมีธรรมาภิบาล เข้าร่วมแสดงเจตจำนงค์ขององค์กรในการเป็นแนวร่วมต่อต้านคอร์รัปชั่นของภาคเอกชนไทย (CAC) ภายใต้โครงการ “เรียกรับ เราร้อง”
May 13, 2025