เจ้าหน้าที่คลินิกเทคโนโลยี จับมือนักวิชาการคณะเทคโนโลยีการเกษตร มรภ.สงขลา ลงพื้นที่กลุ่มวิสาหกิจชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงกลุ่มรักษ์ถิ่นเกิด “ไข่ในหิน” ต.เกาะหมาก อ.ปากพะยูน จ.พัทลุง ให้คำแนะนำด้านการพัฒนาบรรจุภัณฑ์และสถานที่ผลิตไข่เค็ม ปูทางสู่การรับรองมาตรฐาน ภายใต้โครงการพระบรมราโชบายตามยุทธศาสตร์
เมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน 2565 สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา (มรภ.สงขลา) พร้อมด้วยทีมผู้ประสานงานคลินิกเทคโนโลยี นำโดย นางสาวเกศสุพร มากสาขา และทีมงาน ร่วมกับนักวิชาการที่ปรึกษาจากคณะเทคโนโลยีการเกษตร มรภ.สงขลา ประกอบด้วย ผศ.นพรัตน์ วงศ์หิรัญเดชา ผศ.ดร.ธิติมา พานิชย์ และ ผศ.ขนิษฐา พันชูกลาง ลงพื้นที่กลุ่มวิสาหกิจชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงกลุ่มรักษ์ถิ่นเกิด “ไข่ในหิน” ตำบลเกาะหมาก อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง โดยคณะทำงานจาก มรภ.สงขลา ได้ให้คำแนะนำและประสานงานด้านการพัฒนาบรรจุภัณฑ์ และสถานที่ผลิต เพื่อให้ผลิตภัณฑ์ไข่เค็มของทางกลุ่มรักษ์ถิ่นเกิด “ไข่ในหิน” ได้รับการรับรองมาตรฐาน ภายใต้โครงการพระบรมราโชบายตามยุทธศาสตร์ มรภ.สงขลา ประจำปีงบประมาณ 2566 ที่จะขับเคลื่อนเครือข่ายการดำเนินงานร่วมกันต่อไป.
สำนักข่าวบ้านข่าว รายงาน
November 20, 2024
November 18, 2024
November 13, 2024
November 11, 2024
ชื่อ-สกุล*
อีเมล์*
เว็ปไซต์
แสดงความคิดเห็น
Notify me of follow-up comments by email.
Notify me of new posts by email.
Δ
คลินิกเทคโนโลยี-คณะเทคโนโลยีการเกษตร มรภ.สงขลา ลงพื้นที่ ต.เกาะหมาก จ.พัทลุง ให้คำแนะนำกลุ่มรักษ์ถิ่นเกิด “ไข่ในหิน” พัฒนาบรรจุภัณฑ์ไข่เค็ม สู่รับการรับรองมาตรฐาน
เจ้าหน้าที่คลินิกเทคโนโลยี จับมือนักวิชาการคณะเทคโนโลยีการเกษตร มรภ.สงขลา ลงพื้นที่กลุ่มวิสาหกิจชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงกลุ่มรักษ์ถิ่นเกิด “ไข่ในหิน” ต.เกาะหมาก อ.ปากพะยูน จ.พัทลุง ให้คำแนะนำด้านการพัฒนาบรรจุภัณฑ์และสถานที่ผลิตไข่เค็ม ปูทางสู่การรับรองมาตรฐาน ภายใต้โครงการพระบรมราโชบายตามยุทธศาสตร์
เมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน 2565 สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา (มรภ.สงขลา) พร้อมด้วยทีมผู้ประสานงานคลินิกเทคโนโลยี นำโดย นางสาวเกศสุพร มากสาขา และทีมงาน ร่วมกับนักวิชาการที่ปรึกษาจากคณะเทคโนโลยีการเกษตร มรภ.สงขลา ประกอบด้วย ผศ.นพรัตน์ วงศ์หิรัญเดชา ผศ.ดร.ธิติมา พานิชย์ และ ผศ.ขนิษฐา พันชูกลาง ลงพื้นที่กลุ่มวิสาหกิจชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงกลุ่มรักษ์ถิ่นเกิด “ไข่ในหิน” ตำบลเกาะหมาก อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง โดยคณะทำงานจาก มรภ.สงขลา ได้ให้คำแนะนำและประสานงานด้านการพัฒนาบรรจุภัณฑ์ และสถานที่ผลิต เพื่อให้ผลิตภัณฑ์ไข่เค็มของทางกลุ่มรักษ์ถิ่นเกิด “ไข่ในหิน” ได้รับการรับรองมาตรฐาน ภายใต้โครงการพระบรมราโชบายตามยุทธศาสตร์ มรภ.สงขลา ประจำปีงบประมาณ 2566 ที่จะขับเคลื่อนเครือข่ายการดำเนินงานร่วมกันต่อไป.
สำนักข่าวบ้านข่าว รายงาน
ข่าวที่เกี่ยวข้อง
มหาวิทยาลัยหาดใหญ่ เปิด”มุมหนังสือนายกสภามหาวิทยาลัย” ณ ห้องสมุด ศูนย์นวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัล
November 20, 2024
มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ จับมือ WeStride เปิดตัว “FutureX” หลักสูตรวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ออนไลน์ ...
November 18, 2024
โรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา (มรภ.สงขลา) เปิดรับสมัครนักเรียนระดับบ้านสาธิตปฐมวัยและระดับปฐมวัย (อนุบาล 1) ปีการศึกษา ...
November 13, 2024
มรภ.สงขลา นำผลงานนวัตกรรม นศ.เกษตร “เครื่องหยอดเมล็ดข้าว-กิมจิเห็ดนางฟ้า-ข้าวเกรียบเห็ดรสกิมจิ” ถ่ายทอดสู่ชุมชน
November 11, 2024